ผู้ทำประตูสูงสุดของทีมจากไทย ใน AFC Cup

16 ประตู - พิภพ อ่อนโม้ (ชลบุรี)
9 ประตู - โคเน่ โมฮัมเหม็ด (ชลบุรี, เมืองทอง)
6 ประตู - เทิดศักดิ์ ใจมั่น (ชลบุรี)
5 ประตู - ธีรศิลป์ แดงดา (เมืองทอง)
5 ประตู - คริสเตียน ควาคู (เมืองทอง)
4 ประตู - อภิภู สุนทรพนาเวศ (โอสถสภา)
4 ประตู - เอกพันธ์ อินทเสน (ชลบุรี)
4 ประตู - ซูมาโฮโร่ ยาย่า (เมืองทอง)
4 ประตู - เนย์ ฟาเบียโน่ (ชลบุรี)
4 ประตู - สุกรี อีแต (ชลบุรี)
4 ประตู - ติอาโก้ คุนญ่า (ชลบุรี)

อับเดต หลังแข่งขันจบปี 2012

การท่าเรือ ใน AFC Cup



เอเอฟซี คัพ 2010

รอบแบ่งกลุ่ม

24 กุมภาพันธ์ 2010
การท่าเรือ 2-3 ดานัง
ผู้ทำประตู จิรวัฒน์ มัครมย์ น.18, ปิติพงษ์ กุลดิลก น.90+2
สนามศุภชลาศัย

17 มีนาคม 2010
Realty Wofoo 0-1 การท่าเรือ
ผู้ทำประตู ปิติพงษ์ กุลดิลก น.48
สนาม Tseung kwan Sport Ground, ฮ่องกง

24 มีนาคม 2010
การท่าเรือ 2-2 เกลัง ยูไนเต็ด
ผู้ทำประตู จิรวัฒน์ มัครมย์ น.21, สมปอง สอเหลบ น.28
สนามศุภชลาศัย

6 เมษายน 2010
เกลัง ยูไนเต็ด 0-1 การท่าเรือ
ผู้ทำประตู เกียรติเจริญ เรืองปาน น.58
สนาม จาลัน เบซา, สิงคโปร์

20 เมษายน 2010
ดานัง 0-0 การท่าเรือ
สนาม Chi Lang Stadium, เวียดนาม

27 เมษายน 2010
การท่าเรือ 2-0 Realty Wofoo
 ผู้ทำประตู อิสระพงษ์ ลิละคร น.66, วรวุฒิ วังสวัสดิ์ น.72
สนามสุระกุล

รอบ16 ทีม
12 พฤษภาคม 2010
ศรีวิจาย่า 1-4 การท่าเรือ
ผู้ทำประตู ศรายุทธ ชัยคำดี น.36, น.49, น.76 / สมปอง สอเหลบ น.45
สนาม จากาบาริง สเตเดี้ยม, อินโดนีเซีย

รอบ 8 ทีม
นัดแรก, 14 กันยายน 2010
การท่าเรือ 0-0 Qadsia
สนามศุภชลาศัย

นัดสอง, 21 กันยายน 2010
Qadsia 3-0 การท่าเรือ
สนาม Mohammed Al-tlamad Stadium, คูเวต



ผู้ทำประตูสูงสุดของทีมจากไทย ใน ACL

9 ประตู - นันทวัฒน์ แทนโสภา (ธ.กรุงไทย)
5 ประตู - พิชิตพงษ์ เฉยฉิว (ธ.กรุงไทย)
5 ประตู - โคเน่ กัสซิม (ธ.กรุงไทย)
4 ประตู - เทิดศักดิ์ ใจมั่น (เทโร)
4 ประตู - ดัสกร ทองเหลา (เทโร)
3 ประตู - ปณัย คงกระพัน (เทโร)
3 ประตู - วรวุฒิ ศรีมะฆะ (เทโร)
3 ประตู - พีรพงศ์ พิชิตโชติรัตน์ (ธ.กรุงไทย)
3 ประตู - สุเชาว์ นุชนุ่ม (บุรีรัมย์)
3 ประตู - ออสมาร์ อิบันเยซ (บุรีรัมย์)
3 ประตู - มาริโอ ยูรอฟสกี้ (เมืองทอง)

อับเดต หลังแข่งขันจบปี 2014

รายชื่อนักฟุตบอลไทย ซีเกมส์ 2001

Sea Games 21th
ปี 2001 ณ มาเลเซีย

อัมรินทร์ เยาว์ดำ
สระราวุฒิ ตรีพันธ์
อนุชา กิจพงษ์ศรี (ชยพัทธ์ กิจพงษ์ศรีธาดา)
จักรพันธ์ ปั่นปี
เจษฎา จิตสวัสดิ์
พีรทรรศน์ โพธิ์เรือนดี
พิชิตพงษ์ เฉยฉิว
สุรพงษ์ ธรรมวงศา
ดัสกร ทองเหลา
ณรงค์ชัย วชิรบาล
วุฒิยา หย่องแอ่น
ภานุวัฒน์ ตั้งอนุรัตน์ (ภัทรกร ตั้งอนุรัตน์)
ทวีศักดิ์ โมราศิลป์
ธีรเทพ วิโนทัย
ไกรเกียรติ เบียดตะคุ
รุ่งโรจน์ สว่างศรี
มานิตย์ น้อยเวช
ยุทธนา ไชยแก้ว
บุญฤทธิ์ การภักดี


ทีมชาติไทยคว้าเหรียญทอง
(เป็นครั้งแรกที่มีการจำกัดอายุไม่เกิน 23 ปี)
รอบแรก
> ชนะ กัมพูชา 7-0
> ชนะ สิงคโปร์ 1-0
> ชนะ ลาว 1-0
> ชนะ เมียนมาร์ 3-1
รอบรอง ชนะ อินโดนีเซีย 2-1
รอบชิง ชนะ มาเลเซีย 1-0


ขอบคุณภาพจาก สารานุกรมฟุตบอลไทย

ทำเนียบแชมป์ควีนส์คัพ

ครัังที่ 1, ปี 1970 - ธ.กรุงเทพ  ร่วมกับ ทหารอากาศ
ครัังที่ 2, ปี 1971 - ปุตรา (อินโดนีเซีย)
ครัังที่ 3, ปี 1972 - ราชประชา
ครัังที่ 4, ปี 1973 - ราชวิถี
ครัังที่ 5, ปี 1974 - ทหารอากาศ
ครัังที่ 6, ปี 1975 - ยันมาร์ (ญี่ปุ่น)
ครัังที่ 7, ปี 1976 - ฮานยาง (เกาหลีใต้) ร่วมกับ การท่าเรือ
ครัังที่ 8, ปี 1977 - การท่าเรือ
ครัังที่ 9, ปี 1978 - ออร์กัสเฟิร์ส (จีน) ร่วมกับ การท่าเรือ
ครัังที่ 10, ปี 1979 - การท่าเรือ
ครัังที่ 11, ปี 1980 - ราชประชา
ครัังที่ 12, ปี 1981 - ทหารอากาศ
ครัังที่ 13, ปี 1982 - ธ.กรุงเทพ
ครัังที่ 14, ปี 1983 - ฮานยาง (เกาหลีใต้)
ครัังที่ 15, ปี 1985 - เซียงไฮ้ (จีน)
ครัังที่ 16, ปี 1987 - การท่าเรือ
ครัังที่ 17, ปี 1988 - ฮานยาง (เกาหลีใต้)
ครัังที่ 18, ปี 1989 - ฮานยาง (เกาหลีใต้)
ครัังที่ 19, ปี 1990 - ฮานยาง (เกาหลีใต้)
ครัังที่ 20, ปี 1991 - ฮานยาง (เกาหลีใต้)
ครัังที่ 21, ปี 1992 - กัมบะ (ญี่ปุ่น)
ครัังที่ 22, ปี 1993 - การท่าเรือ
ครัังที่ 23, ปี 1994 - ธ.กสิกรไทย
ครัังที่ 24, ปี 1995 - ธ.กสิกรไทย
ครัังที่ 25, ปี 1996 - ธ.กสิกรไทย
ครัังที่ 26, ปี 1997 - ธ.กสิกรไทย
ครัังที่ 27, ปี 1999 - ฮานยาง (เกาหลีใต้)
ครัังที่ 28, ปี 2000 - ธ.กรุงเทพ
ครัังที่ 29, ปี 2002 - โอสถสภา
ครัังที่ 30, ปี 2003 - โอสถสภา
ครัังที่ 31, ปี 2004 - โอสถสภา
ครัังที่ 32, ปี 2006 - ราชนาวี
ครัังที่ 33, ปี 2009 - ฮาเลลูยา (เกาหลีใต้)
ครัังที่ 34, ปี 2010 - บางกอกกล๊าส


บางกอกกล๊าส แชมป์ปี 2010

ออร์กัสเฟิร์ส (จีน), การท่าเรือ แชมป์ร่วมกันในปี 1978
ขอบคุณข้อมูลจาก THE 34th QUEEN`S CUP FOOTBALL TOURNAMENT 2010
ขอบคุณภาพจาก oknation.net และ สารานุกรมฟุตบอลไทย

ทำเนียบแชมป์เอฟเอคัพ 2009 - 2014

2009 - การท่าเรือ

รอบ 32 ทีม ชนะ ราชนาวี 1-2
รอบ 16 ทีม ชนะ เพื่อนตำรวจ 1-0
รอบ 8 ทีม ชนะ นครราชสีมา 3-1
รอบรอง ชนะ โอสถ 0-2
รอบชิง เสมอ เทโร 1-1 (Pen. 5-4)

2010 - ชลบุรี เอฟซี

รอบ 32 ทีม ชนะ สมุทรสาคร 1-0
รอบ 16 ทีม ชนะ สมุทรสงคราม 4-1
รอบ 8 ทีม ชนะ พัทยา 0-2
รอบรอง ชนะ ทหารบก 0-2
รอบชิง ชนะ เมืองทอง 1-2

2011 - บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด

รอบ 32 ทีม ชนะ ปตท.ระยอง 2-1
รอบ 16 ทีม ชนะบาย เพื่อนตำรวจ
รอบ 8 ทีม ชนะ เทโร 2-0
รอบรอง ชนะ อาร์มี่ 2-0
รอบชิง ชนะ เมืองทอง 1-0


2012 - บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด

รอบ 32 ทีม ชนะ ชลบุรี 3-2
รอบ 16 ทีม ชนะ ราชบุรี 7-1
รอบ 8 ทีม ชนะ เทโร 3-0
รอบรอง ชนะ บางกอกกล๊าส 2-0
รอบชิง ชนะ อาร์มี่ 2-1

2013 - บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด

รอบ 32 ทีม ชนะ ชัยนาท 2-1
รอบ 16 ทีม ชนะ สมุทรสงคราม 0-2
รอบ 8 ทีม ชนะ ท่าเรือ 3-0
รอบรอง ชนะ เมืองทอง 1-0
รอบชิง ชนะ บางกอกกล๊าส 3-1


2014 - บางกอกกล๊าส เอฟซี

รอบ 32 ทีม ชนะ ราชนาวี 2-3
รอบ 16 ทีม ชนะ เสมอ บุรีรัมย์ 2-2 (Pen. 3-5)
รอบ 8 ทีม ชนะ เมืองทอง 2-1
รอบรอง ชนะ เสมอ เชียงราย ยูไนเต็ด 1-1 (Pen. 5-4)
รอบชิง ชนะ ชลบุรี 1-0

ทำเนียบแชมป์ลีกคัพ

ปี 2010 - การท่าเรือ

รอบ 64 ทีม ชนะ กรุงเทพมหานคร 0-3, แพ้ กรุงเทพมหานคร 1-3
รอบ 32 ทีม แพ้ ร้อยเอ็ด 1-0, ชนะ ร้อยเอ็ด 2-0
รอบ 16 ทีม เสมอ สมุทรสงคราม 0-0, ชนะ สมุทรสงคราม 2-1
รอบ 8 ทีม เสมอ แบงค็อก 2-2, เสมอ แบงค็อก 1-1 (เข้ารอบด้วยกฎประตูทีมเยือน)
รอบรอง แพ้ ราชนาวี 3-1, ชนะ ราชนาวี 4-1
รอบชิง ชนะ บุรีรัมย์ 2-1

ปี 2011 - บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด

รอบ 64 ทีม ชนะ ม.เกษมบัณฑิต 0-5
รอบ 32 ทีม เสมอ บุรีรัมย์ เอฟซี 1-1 (Pen. 6-4)
รอบ 16 ทีม เสมอ เชียงใหม่ 0-0, ชนะ เชียงใหม่ 3-1
รอบ 8 ทีม ชนะ เทโร 2-1, ชนะ เทโร 2-6
รอบรอง ชนะ ชลบุรี 1-0, แพ้ ชลบุรี 3-2 (เข้ารอบด้วยกฎประตูทีมเยือน)
รอบชิง ชนะ การท่าเรือ 2-0

2012 - บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด

รอบ 64 ทีม ชนะ ร้อยเอ็ด 2-3
รอบ 32 ทีม ชนะ หาดใหญ่ 0-1
รอบ 16 ทีม ชนะ สมุทรปราการ 0-1
รอบ 8 ทีม เสมอ เทโร 1-1, เสมอ เทโร 2-2 (เข้ารอบด้วยกฎประตูทีมเยือน)
รอบรอง ชนะ บางกอกกล๊าส 2-3, ชนะ บางกอกกล๊าส 1-0
รอบชิง ชนะ ราชบุรี 4-1

2013 - บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด

รอบ 64 ทีม ชนะ ลูกอีสาน 2-3
รอบ 32 ทีม ชนะ กาฬสินธุ์ 0-5
รอบ 16 ทีม ชนะ ราชนาวี 3-1
รอบ 8 ทีม ชนะ อุดรธานี 1-0, ชนะ อุดรธานี 1-2
รอบรอง แพ้ ระยอง เอฟซี 1-0, ชนะ ระยอง เอฟซี 5-0
รอบชิง ชนะ ราชบุรี 2-1

2014 - บีอีซี เทโร ศาสน

รอบ 64 ทีม ชนะ เพชรบุรี 0-2
รอบ 32 ทีม ชนะ อุบล ยูเอ็มที 1-4
รอบ 16 ทีม ชนะ พัทยา 0-2
รอบ 8 ทีม เสมอ บางกอกกล๊าส 0-0, ชนะ บางกอกกล๊าส 1-0
รอบรอง ชนะ นครราชสีมา 1-0, ชนะ นครราชสีมา 2-4
รอบชิง ชนะ บุรีรัมย์  2-0



ทำเนียบแชมป์ไทยลีก


1996 - ธ.กรุงเทพ
1997 - ทหารอากาศ
1998 - สินธนา
1999 - ทหารอากาศ
2000 - เทโร
2001/02 - เทโร
2002/03 - ธ.กรุงไทย
2003/04 - ธ.กรุงไทย
2004/05 - พนักงานยาสูบ
2006 - มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
2007 - ชลบุรี เอฟซี
2008 - การไฟฟ้า
2009 - เมืองทอง ยูไนเต็ด
2010 - เมืองทอง ยูไนเต็ด
2011 - บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
2012 - เมืองทอง ยูไนเต็ด
2013 - บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด
2014 - บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด

ธ.กรุงเทพ 1996

ชลบุรี 2007

การไฟฟ้า 2008

เมืองทอง 2009

เมืองทอง 2010

เมืองทอง 2012

บุรีรัมย์ 2013

บุรีรัมย์ 2014

ขอบคุณเจ้าของภาพทุกภาพด้วยครับ


สุรัตน์ สุขะ - เมลเบิร์น วิคตอรี่


14 พฤษภาคม 2009 สุรัตน์ สุขะ ย้ายจากชลบุรี เอฟซี  ไปร่วมทีมเมลเบิร์น วิคตอรี่
ด้วยค่าตัว 3.6 หมื่นยูโร หรือ 1.5 ล้านบาท สร้างประวัติศาสตร์เป็นนักเตะอาเซียน(แท้ๆ)คนแรกที่เล่นในเอลีก ออสเตรเลีย



ช่วงแรกสุรัตน์รับค่าเหนื่อยราว 1.8 แสนบาทต่อเดือน และช่วงท้ายๆก่อนที่จะกลับมาประเทศไทย เขารับค่าเหนื่อยสุดหรู 3.7 แสนบาทต่อเดือน

นักฟุตบอลจากแดนสยามสวมใส่เสื้อหมายเลข 5 ใช้ชื่อหลังเสื้อว่า SUKHA ลงประเดิมสนามเกมแรกให้เมลเบิร์น วิคตอรี่ ในเกมที่เสมอบริสเบน โรอาห์ 3-3 โดยเจ้าปานลงเล่นในฐานะตัวสำรองช่วงท้ายเกม

จากนั้นได้ลงเล่นเป็นตัวจริงครั้งแรก เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2009 เป็นเกมที่เมลเบิร์นบุกไปชนะนอร์ธ ควีนแลนด์ 0-1 โดยกัปตันทีมของเจ้าบ้านในวันนั้นคือร็อบบี้ ฟาวเลอร์ ซึ่งสุรัตน์ สุขะ ได้เล่นครบ 90 นาทีเต็ม



ระยะเวลาราวสองปีในออสเตรเลีย สุรัตน์ได้รองแชมป์เอลีกกับเมลเบิร์น ในฤดูกาล 2009-10 ลงเล่นรวมทั้งหมด 36 เกม




แกรี่ โคล ผู้จัดการทั่วไปของเมลเบิร์น เคยพูดถึงสุรัตน์ว่า
" เขาคือผู้เล่นที่สุดยอด เขาเล่นในนามทีมชาติไทยมา 15-16 ครั้งแล้ว
ผมได้มีโอกาสคุยกับสตีฟ ดาร์บี้ ผู้ช่วยโค้ชทีมชาติไทย ซึ่งพวกเขาจะต้อง
ลงเตะอุ่นเครื่องกับลิเวอร์พูล และสุรัตน์จะต้องรับหน้าที่ประกบติด
สตีเว่น เจอร์ราร์ด โดยที่เหล่าสต๊าฟโค้ชของไทย คาดหวังในความสามารถของเขาเป็นอย่างมากเลยทีเดียว ผมคิดว่าพวกเราเซ็นสัญญากับสุรัตน์ได้อย่างยอดเยี่ยม "





อาชี่ ทอมสัน เพื่อนร่วมทีมของสุรัตน์ในเวลานั้น เคยกล่าวว่า
" ผมคิดว่าเขาคือผู้เล่นแนวรับชั้นยอด เขาดูดีและลูกบอลเหมือนจะเชื่องสำหรับเขา และอีกอย่างคือเขาพยายามทำความรู้จักกับทีมของเรา
และผู้เล่นรอบๆเขา และที่สำคัญมากคือเขาพยายามพูดภาษาอังกฤษ
ซึ่งแม้เพียงเล็กน้อย แต่เขาจะสื่อสารได้ดีขึ้นในไม่ช้า "













วิทยา เลาหกุล

ยันมาร์ ดีเซล (ญี่ปุ่น) 1977-1978 ลีกสูงสุด
ปัจจุบันคือทีมเซเรโซ่ โอซาก้า
ขณะนั้นวิทยาลงเล่นใน Japan Soccer League Div.1
ลงสนาม 33 เกม ยิง 14 ประตู

-------------------------------------------------------

แฮร์ธ่า เบอร์ลิน (เยอรมัน) 1979-1980 ลีกสูงสุด


----------------------------------------------------------

ซาบรุ๊คเค่น (เยอรมัน) 1980-1984 ลีกระดับสอง
ลงเล่น 58 เกม ยิง 4 ประตู
คว้าแชมป์ Oberliga Sudwest ในปี 1983

------------------------------------------------

มีตซึชิตะ (ญี่ปุ่น) 1986-1987 ลีกสูงสุด
ปัจจุบันคือทีมกัมบะ โอซาก้า

ปิยะพงษ์ ผิวอ่อน

ลักกี้ โกลด์สตาร์ (เกาหลีใต้) 1984-1986 ลีกสูงสุด
ปัจจุบันคือเอฟซี โซล
เดอะตุ๊กลงสนาม 43 เกม ยิง 18 ประตู ทำ 6 แอสซิส
ซึ่งสมัยที่ค้าแข้งที่นั่น กองหน้าทีมชาติไทยคว้ารางวัลส่วนตัวถึง 5 รางวัล ประกอบด้วย ดาวยิงสูงสุด, จ่ายบอลให้เพื่อนยิงสูงสุด, นักเตะทรงคุณค่าแห่งปี, ยิงประตูสุดสวยแห่งปี และนักเตะยอดเยี่ยมในทีม 11 ตำแหน่ง


-------------------------------------------------


ปาหัง (มาเลเซีย) 1986-1989 ลีกสูงสุด

ปิยะพงษ์ ในปี 1989


ผลงานนักฟุตบอลไทยในเอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2014





กวินทร์ ธรรมสัจจานันท์
ลงตัวจริง 6
เปลี่ยนลง 0
เวลาในสนาม 540
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0
คลีนชีท 3














พีระพัฒน์ โน๊ตชัยยา
ลงตัวจริง 5
เปลี่ยนลง 1
เวลาในสนาม 453
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0

ประวีณวัช บุญยงค์
ลงตัวจริง 2
เปลี่ยนลง 0
เวลาในสนาม 169
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0

เกริกฤทธิ์ ทวีกาญจน์
ลงตัวจริง 6
เปลี่ยนลง 0
เวลาในสนาม 530
ประตู 3
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0

สุทธินันท์ พุกหอม
ลงตัวจริง 5
เปลี่ยนลง 1
เวลาในสนาม 461
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0

สารัช อยู่เย็น
ลงตัวจริง 6
เปลี่ยนลง 0
เวลาในสนาม 540
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 1
ใบแดง 0

ชาริล ชัปปุยส์
ลงตัวจริง 6
เปลี่ยนลง 0
เวลาในสนาม 540
ประตู 4
แอสซิส 1
ใบเหลือง 1
ใบแดง 0














อาทิตย์ ดาวสว่าง
ลงตัวจริง 2
เปลี่ยนลง 0
เวลาในสนาม 180
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0

อดิศักดิ์ ไกรษร
ลงตัวจริง 2
เปลี่ยนลง 3
เวลาในสนาม 324
ประตู 2
แอสซิส 1
ใบเหลือง 3
ใบแดง 1














กีรติ เขียวสมบัติ
ลงตัวจริง 4
เปลี่ยนลง 0
เวลาในสนาม 216
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0

มงคล ทศไกร
ลงตัวจริง 3
เปลี่ยนลง 2
เวลาในสนาม 252
ประตู 1
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0

ประกิต ดีพร้อม
ลงตัวจริง 4
เปลี่ยนลง 3
เวลาในสนาม 348
ประตู 1
แอสซิส 3
ใบเหลือง 1
ใบแดง 0

นฤบดินทร์ วีรวัฒโนดม
ลงตัวจริง 5
เปลี่ยนลง 0
เวลาในสนาม 450
ประตู 0
แอสซิส 1
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0

ศราวุฒิ มาสุข
ลงตัวจริง 3
เปลี่ยนลง 2
เวลาในสนาม 256
ประตู 0
แอสซิส 1
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0


ชยพัทธ์ กิจพงษ์ศรีธาดา
ลงตัวจริง 2
เปลี่ยนลง 0
เวลาในสนาม 177
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0

อดิศร พรหมรักษ์
ลงตัวจริง 2
เปลี่ยนลง 0
เวลาในสนาม 180
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 1
ใบแดง 0

ธนบูรณ์ เกษารัตน์
ลงตัวจริง 6
เปลี่ยนลง 0
เวลาในสนาม 540
ประตู 1
แอสซิส 0
ใบเหลือง 1
ใบแดง 0


ชนาธิป สรงกระสินธ์
ลงตัวจริง 5
เปลี่ยนลง 1
เวลาในสนาม 474
ประตู 2
แอสซิส 2
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0

อดุล หละโสะ
ลงตัวจริง 1
เปลี่ยนลง 3
เวลาในสนาม 61
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0

ชนินทร์ แซ่เอี๊ยะ
ลงตัวจริง 1
เปลี่ยนลง 0
เวลาในสนาม 90
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0
คลีนชีท 1

ชัยณรงค์ ทาทอง
ลงตัวจริง 0
เปลี่ยนลง 2
เวลาในสนาม 61
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0

สมปอง สอเหลบ
ลงตัวจริง 1
เปลี่ยนลง 1
เวลาในสนาม 79
ประตู 0
แอสซิส 0
ใบเหลือง 0
ใบแดง 0